โครงการสอน
โครงการสอนวิชาวิทยาศาสตร์พื้นฐาน
รหัส 2000-1401 จำนวน 3 คาบ/สัปดาห์
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
จำนวนคาบ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
1
|
- |
2 |
ปฐมนิเทศ -ขอบเขตของเนื้อหาวิชา วิทยาศาสตร์ -แนวทางปฏิบัติ ,ข้อกำหนดใน ระหว่างการเรียนการสอน -เกณฑ์การวัดผลและประเมินผล การเรียนรู้ |
1. บอกขอบเขตของเนื้อหาวิชา วิทยาศาสตร์ได้ 2. อธิบายแนวทางปฏิบัติระหว่างการ เรียนการสอน 3. บอกถึงเกณฑ์การวัดผลประเมินผล การเรียนรู้ |
การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
2-3 |
1 |
3-6 |
ทักษะกระบวนการและโครงงานวิทยาศาสตร์ 1.1 ความหมายของวิทยาศาสตร์และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ 1.2 วิธีการทางวิทยาศาสตร์ 1.3 ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ 1.4 ความสำคัญของโครงงาน วิทยาศาสตร์ 1.5 ประเภทของโครงงาน วิทยาศาสตร์ 1.6 ขั้นตอนการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ 1.7 การเขียนรายงานโครงงาน วิทยาศาสตร์
|
1. บอกความหมายของวิทยาศาสตร์ และกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ ได้ 2. บอกขั้นตอนวิธีการทาง วิทยาศาสตร์ได้ 3. ใช้ทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ขั้นพื้นฐานได้ 4. นำทักษะกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ไปค้นคว้าหาคำตอบ ของปัญหาได้ 5. บอกความหมายและความสำคัญ ของโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 6. บอกประเภทของโครงงาน วิทยาศาสตร์ได้ 7. บอกขั้นตอนในการทำโครงงาน วิทยาศาสตร์ได้ 8.ใช้ทักษะและกระบวนการทาง วิทยาศาสตร์ในการแสวงหาความรู้ ในการทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ 9. จัดทำโครงงานวิทยาศาสตร์ได้ อย่างถูกต้อง 10. เขียนรายงานประกอบโครงงาน วิทยาศาสตร์ได้ถูกต้อง |
การตรงต่อเวลา การแต่งกาย ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์ ความรับผิดชอบ
|
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
จำนวนคาบ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
4 |
2 |
3 |
การรักษาดุลยภาพของร่างกาย , พืชและสัตว์ 2.1โครงสร้างและส่วนประกอบ ของเซลล์ 2.2 การรักษาดุลยภาพของร่างกาย 2.3 การรักษาดุลยภาพของพืช 2.4 การรักษาดุลยภาพของสัตว์ |
1. บอกลักษณะโครงสร้างและ ส่วนประกอบที่สำคัญของเซลล์ได้ 2. บอกความแตกต่างระหว่างเซลล์พืช และเซลล์สัตว์ได้ 3. บอกกระบวนการรักษาดุลยภาพของ ร่างกายได้ 4.บอกกระบวนการรักษาดุลยภาพของ พืชได้ 5.บอกกระบวนการรักษาดุลยภาพของ สัตว์ได้ 6. นำความรู้ไปใช้ในการดำรงชีวิต ประจำวันได้
|
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
5-6 |
3 |
6 |
ความสัมพันธ์ของสิ่งแวดล้อม สิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศ และทรัพยากรธรรมชาติ 3.1 ระบบนิเวศ 3.2 ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต ในระบบนิเวศ 3.3 บทบาทของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ 3.4 ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตใน ระบบนิเวศ 3.5 ดุลยภาพของระบบนิเวศ 3.6 ความหมายของ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม
|
1. บอกความหมายของระบบนิเวศได้ 2. บอกปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อสิ่งมีชีวิต ในระบบนิเวศได้ 3. บอกการถ่ายทอดพลังงานใน ระบบนิเวศได้ 4. เขียนโซ่อาหารและสายใยอาหารได้5. บอกความสมดุลของระบบนิเวศ ได้ 6. บอกถึงสาเหตุที่ทำให้ระบบนิเวศ เสียสมดุลได้ 7. บอกการรักษาความสมดุลของ ระบบนิเวศได้ 8.บอกความหมายของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้
|
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
ชั่วโมงที่ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
|
|
|
3.7 ประเภทของ ทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 3.8 สาเหตุและผลกระทบที่สำคัญ ของทรัพยากรธรรมชาติและ สิ่งแวดล้อม 3.9 การจัดการทรัพยากร ธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อม
|
9. บอกประเภทของทรัพยากร ธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมได้ 10. บอกสาเหตุที่ทำให้ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเภทต่างๆลดน้อยลง 11. บอกวิธีการจัดการ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ประเภทต่างๆได้ 12. เขียนโครงการจัดการสิ่งแวดล้อม ในบริเวณที่กำหนดให้ได้
|
|
7-10 |
4 |
12 |
โครงสร้างอะตอม ตารางธาตุและพันธะเคมี 4.1 การจำแนกสาร 4.2 อะตอม 4.3 อนุภาคมูลฐานของอะตอม 4.4 การจัดเรียงอิเล็กตรอนใน อะตอม 4.5 เลขอะตอม, เลขมวล , สัญลักษณ์นิวเคลียร์, ไอโซโทป 4.6 ตารางธาตุ 4.7 พันธะไอออนิก 4.8 พันธะโคเวเลนต์ 4.9 พันธะโลหะ
|
1. จำแนกสารออกเป็นหมวดหมู่โดย ใช้เนื้อสารเป็นเกณฑ์ได้ 2. บอกความหมายของอะตอมได้ 3. บอกคุณสมบัติของอนุภาคมูลฐาน ของอะตอมได้ 4. จัดเรียงอิเล็กตรอนที่ กำหนดให้ได้ 5.. บอกความหมายของ ธาตุ , โมเลกุล สารประกอบ เลขอะตอม เลขมวล สัญลักษณ์นิวเคลียร์ และ ไอโซโทปได้ได้ 6. ระบุอนุภาคมูลฐานอะตอมจาก สัญลักษณ์นิวเคลียร์ , เลขอะตอม , เลขมวล และไอโซโทปได้ 7. บอกความสัมพันธ์ระหว่างหมู่,คาบ กับเลขอะตอมและระดับพลังงาน ของธาตุที่อยู่ในตาราง ธาตุได้
|
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
ชั่วโมงที่ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
|
|
|
|
8. อธิบายความหมายของพันธะ ไอออนิก พันธะโคเวเลนต์ และ พันธะโลหะได้ 9. จำแนกสารที่กำหนดให้ได้ว่าเป็น พันธะเคมีชนิดใด 10. บอกความแตกต่างระหว่างสมบัติ ของสารประกอบไอออนิก , สารประกอบโคเวเลนต์ และ โลหะได้
|
|
11 |
5 |
3 |
สารในชีวิตประจำวัน 5.1 สารผสม 5.2 สารละลาย 5.3 คอลลอยด์ 5.4 สารแขวนลอย 5.5 สารละลายกรด-เบส |
1. บอกความหมายของสารผสม สารละลาย คอลลอยด์ สาร แขวนลอย และสารละลายกรด-เบส ได้ 2. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง สมบัติของสารละลาย , คอลลอยด์ และสารแขวนลอยได้ 3. ยกตัวอย่างสารละลาย คอลลอยด์ สารแขวนลอย สารละลายกรด และสารละลายเบสได้ 4. เปรียบเทียบความแตกต่างระหว่าง สารละลายกรด สารละลายเบส และสารละลายที่เป็นกลางได้
|
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
จำนวนคาบ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
12 - 14 |
6 |
9 |
แรง การเคลื่อนที่ งาน และ พลังงาน 6.1 ความหมายของแรง 6.2 ชนิดของแรง 6.3 ปริมาณที่เกี่ยวข้องกับการ เคลื่อนที่ 6.4 ลักษณะของการเคลื่อนที่
|
1. อธิบายความหมายของแรงได้ 2. บอกสัญลักษณ์และทิศทางของแรง ที่กำหนดให้ได้ 3. จำแนกแรงในธรรมชาติ และ แรงที่เกิดจากการกระทำได้ 4. อธิบายความหมายของการ เคลื่อนที่ได้ 5. เขียนสัญลักษณ์และหน่วยของ ระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว และความเร่งได้ 6. คำนวณหาความสัมพันธ์ของ ระยะทาง การกระจัด เวลา อัตราเร็ว และ ความเร่งได้ 7. อธิบายและยกตัวอย่างลักษณะ การเคลื่อนที่แบบต่างๆได้ 8. นำความรู้ไปใช้ในการอธิบายการ เคลื่อนที่ของเครื่องเล่นเครื่องใช้ ต่างๆได้ |
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
15-16 |
7 |
6 |
7.1 งาน 7.2 พลังงาน 7.3 พลังงานกับการดำรงชีวิต
|
1. อธิบายความหมายของงาน และพลังงาน ได้ 2. คำนวณหาค่าของงานและพลังงาน ได้ 3. จำแนกชนิดของพลังงานได้ 4. นำความรู้ไปใช้ในการดำรง ชีวิตประจำวันได้
|
|
สัปดาห์ที่ |
หน่วยที่ |
จำนวนคาบ |
สาระการเรียนรู้ |
ผลการเรียนรู้ที่คาดหวัง |
คุณธรรม-จริยธรรม |
17 |
- |
3 |
ปัจฉิมนิเทศ - ทบทวนความรู้ในบทเรียน - การเตรียมความพร้อมก่อน สอบ
|
1. ทบทวนความรู้ ความเข้าใจของ เนื้อหาต่างๆในบทเรียน 2. มีความพร้อมก่อนสอบ |
ความรับผิดชอบ การตรงต่อเวลา การแต่งกาย |
18 |
1 - 6 |
3 |
สอบปลายภาค |
|
|